วันพฤหัสบดีที่ 15 พฤศจิกายน พ.ศ. 2555

Biochemical Oxygen Demand Test 13



2.2) หาปริมาตรน้ำกลั่นที่ใช้
ชั่งสาร   NaN3  10 กรัม  เติมน้ำกลั่นไป  40  มล.
ถ้าชั่งสาร NaN3  1 กรัม  ต้องเติมน้ำกลั่นไป =    = 4  มล.
          2.3) NaOH  500 กรัม
          สารละลายปริมาตร  1000  มล.   มี  NaOH  500 กรัม
ถ้าต้องการสารละลายปริมาตร  100  มล.   จะมี  NaOH  =     =  50    กรัม
ดังนั้น  ต้องชั่ง NaOH  มา  50   กรัม ทำการละลายแล้วปรับปริมาตรเป็น  100  มล.  
          2.4) NaI  135  กรัม
สารละลายปริมาตร  1000  มล.   มี    NaI  135  กรัม
ถ้าต้องการสารละลายปริมาตร  100  มล.   จะมี    NaI  =     =  13.5    กรัม
ดังนั้น  ต้องชั่ง    NaI  มา  13.5   กรัม ทำการละลายแล้วปรับปริมาตรเป็น  100  มล.  
3) การเตรียมสารละลายมาตรฐานโซเดียมไธโอซัลเฟต  0.025  N
วิธีคิด       ชั่งสาร     Na2S2O3.5H2O  3.10 กรัม  ละลายในน้ำกลั่น   เติม  NaOH  0.2 กรัม เติมน้ำกลั่นปรับปริมาตรจนครบ  500 มล.   แล้วนำสารละลาย  Na2S2O3 ไปหาความเข้มข้นที่แน่นอนโดยการเทียบกับสารละลายมาตรฐานโพแทสเซียมไอโอไดด์  (KI)  ซึ่ง  KI  มีวิธีการเตรียม  ดังนี้
             ชั่งสาร  KI   มา  2  กรัม  เติมน้ำกลั่น  150  มล.  ต่อไปเติมกรด  H2SO4  1:9   10 มล.  เติม K2Cr2O7  0.025  N   20 มล.  นำไปเก็บไว้ในที่มืด  5  นาที  นำมาเติมน้ำ  แล้วรับปริมาตรเป็น  200  มล. หลังจากนั้น นำ KI ที่ได้ ไปไทเทรตกับสารละลาย  Na2S2O3 ที่เตรียมไว้ข้างต้น โดยใช้สูตร

                   [Na2S2O3จริง]  = 
ในการไทเทรตครั้งนี้ ผู้ทดลองไทเทรตโซเดียมไธโอซัลเฟตได้เท่ากับ  21.5  มล.  นำมาหาค่าความเข้มข้นของโซเดียมไธโอซัลเฟต ได้เป็น

                   [Na2S2O3จริง]     =   
                                       =     0.026  N
          ดังนั้น  ความเข้มข้นของโซเดียมไธโอซัลเฟตที่เตรียมได้มีค่าเท่ากับ  0.026  นอมอล

4) การเตรียมน้ำแป้ง
วิธีทำ    นำแป้งมันมา  5  กรัม  ในน้ำ  800 มล.  เติมน้ำให้ได้  1000  มล.  นำไปต้มให้เดือด  2 – 3 นาที ตั้งค้างคืนไว้  จนแป้งตกตะกอน  ตวงเอาน้ำแป้งในส่วนที่ใสออกมา  เติม กรดซาลิไซลิก  1.25  กรัม ต่อน้ำแป้ง 1000  มล.

                                                               

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น